สังคม

ศึกชิงตลาดรถไฟความเร็วสูงนานาชาติ: ตอนเกาหลีใต้

เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ผู้เขียนมีโอกาสเดินทางไปยังกรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เพื่อฆ่าเวลาก่อนเดินทางไปยังสนามบินเพื่อกลับประเทศไทย เดินไปเดินมาอย่างไม่มีทิศทางก็บังเอิญให้เจอเข้ากับนิทรรศการถาวรเรื่องรถไฟความเร็วสูงของเกาหลีใต้ ข้างหน้ามีคัตเอาท์ดาราดังจากรายการ Running Man อย่างอีกวางซู

สมมติว่าสาระมีอยู่จริง: สุนัขที่แสนเชื่องของคณะเทวดาผู้ปวารณาตนมาโปรดสัตว์

ในโลกนี้คงไม่มีอะไรที่เกิดขึ้นโดยไม่มีเหตุผล แม้แต่กับเหตุการณ์ที่ดูไร้เหตุผลที่สุดต่างก็มีเหตุผลอธิบายในตัวของมันเอง น้ำหนักของความมีเหตุมีผลอาจจะขึ้นอยู่กับว่า เราพอที่จะรับกับชุดคำอธิบายเหล่านั้นได้หรือไม่ ซึ่งแน่นอนกับเรื่องบ้างเรื่องเหตุผลก็มีไว้เพียงสร้างความชอบธรรมกับการกระทำบางอย่างที่ระยำตำบอนเท่านั้น

ยุกติ มุกดาวิจิตร: ทัวร์โรงเบียร์

อีกสถานที่หนึ่งที่ตั้งใจไปเยือนคือโรงเบียร์ใจกลางเมืองชื่อ Steam Whistle ทำให้ได้เห็นทั้งวิธีคิดของเมือง วิธีการทำเบียร์ ความเอาจริงเอาจังของคนรุ่นใหม่ในแคนาดา รวมทั้งเข้าใจอะไรๆ เกี่ยวกับเบียร์มากขึ้น

ฟุตบอลเพื่อสันติภาพและความเท่าเทียม ตอนที่ 2 การทำงานเพื่อมนุษยธรรมและความเป็นธรรมทางสังคมด้วยฟุตบอล

ฟุตบอล เพื่อสันติภาพและความเท่าเทียม(2)

การทำงานเพื่อมนุษยธรรมและความเป็นธรรมทางสังคมด้วยฟุตบอล

โดย ดาราณี ทองศิริ ผู้ร่วมก่อตั้งห้องเรียนเพศวิถีและสิทธิมนุษยชน ร้านหนังสือบูคู (Buku Classroom)

 

ยุกติ มุกดาวิจิตร: ผู้คนและสังคมในวิกฤตเศรษฐกิจ

ช่วงนี้มิวเซียมสยามมีนิทรรศการชั่วคราวชุดใหม่จัดแสดงอยู่ ชื่อนิทรรศการ "ต้มยำกุ้งวิทยา : วิชานี้อย่าเลียน !" ผมเพิ่งไปดูมาเมื่อสองวันก่อนนี้ ดูแล้วคิดอะไรได้หลายอย่าง ก็ขอเอามาปันกันตรงนี้

ฟุตบอลเพื่อสันติภาพและความเท่าเทียม ตอนที่ 1 จุดเริ่มต้นของ Buku Football Club

ฟุตบอลเพื่อสันติภาพและความเท่าเทียม (1)

จุดเริ่มต้นของ Buku Football Club

 

โดย ดาราณี ทองศิริ ผู้ร่วมก่อตั้งห้องเรียนเพศวิถีและสิทธิมนุษยชน ร้านหนังสือบูคู  (ฺBuku Classroom)

 

สัมภาษณ์ครั้งสุดท้ายของนายและนางโอบามา (The Final Interview with the Obamas): ปิยณัฐ สร้อยคำ

ผมไม่ใช่คอการเมืองอเมริกา แต่ก็พอรู้ว่าประธานาธิบดีของประเทศนี้ชื่อบารัก โอบามา และแม้ผมไม่ได้ติดตามการเลือกตั้งอเมริกาอย่างใกล้ชิด แต่ก็พอรู้ว่าวาระ 2 สมัย ใน 8 ปีข

เสียงสะท้อนที่อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แก้ไขในสังคม

“ ความแตกต่างระหว่างประเทศด้อยพัฒนา กับประเทศที่พัฒนาสูงสุดแล้ว ไม่ได้อยู่ที่ความเก่าแก่ของอารยธรรมของประเทศนั้น ๆ ดูได้จากประเทศอินเดีย อียิปต์ ซึ่งมีอารยธรรมมายาวนานกว่า 2,000 ปี แต่ก็ยังยากจน

Pages

Subscribe to สังคม