บล็อกของ Pandit Chanrochanakit

Political literacy: ความทรงจำปี 2553

คนดีไปไหนหนอ?
 
ถ้ายังจำกันได้เมื่อ พ.ศ. 2553 มีการชุมนุมบนท้องถนน แต่การทำงานของรัฐบาลยังเป็นไปตาม "ปกติ" 
มีบรรดาราษฎรอาวุโส คนดีในหลายภาคส่วนเรียกร้องให้ "จัดการ" การการชุมนุมบนท้องถนนอย่างเด็ดขาด

ศีลห้ากับนิรโทษกรรม

หลายวันมานี้ผมหมกมุ่นกับเรื่องนิรโทษกรรมจนลืมไปว่าคนจำนวนมาก "ข้าม" เรื่องนิรโทษกรรมไป "ล้มรัฐบาล" กันแล้ว

ยุคเผด็จการเขานิรโทษกรรมกบฏในสภานิติบัญญัติกันอย่างไร?

เวลานี้ใครไม่ออกมาพูดเรื่องนิรโทษกรรมก็จะกลายเป็นเชยล้าสมัย ผมอยากให้ลองดูประวัติศาสตร์นิดหน่อยครับ

ไม่อยากพูดมากเลยเอารูปมาแปะเลยนะครับ ภาพเหล่านี้มาจากหนังสือเล่มนี้ครับ

 

ความจริงที่ถูกมองข้ามกับการคัดค้านนิรโทษกรรม

สมัยที่ทำหน้าที่อนุกรรมการตรวจสอบความจริงกรณีเผากรุงเทพ 34 จุดนั้น ไม่มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารชั้นผู้ใหญ่หรือ กทม. มาให้ข้อมูลเลย ภาพรวมที่ได้คือ 

นิรโทษกรรม ไปทางไหนดี

สำหรับคนที่กำลังสงสัยว่าเรื่องนิรโทษกรรมคืออะไร ผมต้องบอกว่าดีใจมากที่คนไทยสนใจการเมืองมาก ทั้งสองสีเสื้อ และน

บริหารรัฐกิจใหม่กับการบริหารสถานศึกษาในระบอบบริหารแบบเอกชนที่อาศัยตัวชี้วัด

หลายวันก่อนได้มีโอกาสพูดคุยกับเพื่อนร่วมวิชาชีพจากหลายสถาบัน เราคุยกันถึงประเด็นที่ว่าแนวคิดบริหารรัฐกิจและการศึกษาที่หยิบเอาแนวทางการบริหารจากภาคเอกชนมาใช้ ดูเหมือนจะกลายเป็นเรื่องปกติ ในบางแห่งบรรจุภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ไว้ในคณะวิทยาการจัดการ บางสถาบันยกระดับให้เป็น "คณะ" บางแห่งยกฐานะเท่าเทีย

ประวัติศาสตร์คนละฉบับ? ไม่ใช่สอนไม่จำหรือไม่เคยอ่าน

 

มีข่าวว่าอดีตผู้นำนักศึกษารุ่น 14 ตุลาคม 2516 ระดมกำลังตั้งกลุ่มกระทิงแดงและรวมตัวที่กองบัญชาการ 103 เมื่อวันที่ 20 ก.พ.56 ที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นถึงความทรงจำอันพร่าเลือนของคนเหล่านี้จากเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เมื่อเกือบ 40 ปีมาแล้ว

“หวานเจ็ด, น้ำตาสาม” ของเก่าเล่าใหม่ จากบทนำวิภาษา 22

ตรุษจีนปีนี้ผมไม่ได้กลับบ้าน คงอยู่เงียบๆ เหมือนเคย แต่บรรยากาศของตรุษจีนของชาวจีนโพ้นทะเลไม่ว่าที่ไหนๆ ก็จะต้องมีเสียงของเติ้งน้อยเป็นเพลงประกอบราวกับเพลงบังคับของเทศกาล อดไม่ได้ที่จะหวนคิดถึงความเก่าความหลังที่ชีวิตวกวนพาไปเดินเล่นไกลถึงนิวยอร์ค

จริยธรรมของการพบพาน (The Ethics of Encounter) ตอนพิเศษ

ผมเคยเขียนงานชุด จริยธรรมของการพบพาน (The Ethics of Encounter) เอาไว้เมื่อหลายปีก่อน เพื่อนำเสนอสิ่งที่เป็นไปได้ในสถานการณ์ของการเชิญหน้า ว่าในการปะทะสังสรรค์กันของมนุษย์กับคนแปลกหน้าย่อมเกิดภาวะพิเศษ ซึ่งอาจนำไปสู่สงครามหรือสันติภาพก็ได้ หลายปีมานี้ผมพบว่าปัญหาหนึ่งของสังคมไทยก็คือการปะทะกับโดยไ

Pages

Subscribe to RSS - บล็อกของ Pandit Chanrochanakit