บล็อกของ Pandit Chanrochanakit

ธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2502 กับมาตรา 17

ในรายงานวิจัยที่ผมเสนอต่อโครงการเมธีวิจัยอาวุโส ศ. รังสรรค์ ธนะพรพันธ์ุ ได้เขียนถึงเรื่องจุดเริ่มต้นและชีวิตทางการเมืองของธรรรมนูญฉบับนี้ ตลอดจนผลการใช้มาตรา 17 เอาไว้ดังนี้ ครับ

ว่าด้วยการปฏิวัติวัฒนธรรม

ได้เคยเขียนบทนำวิภาษา 23 ไว้เมื่อปลายปี 2553 ไว้เกี่ยวกับเรื่องปฏิวัติวัฒนธรรม ดังนี้

การปฏิวัติวัฒนธรรมที่กลายเป็นสินค้า

De ja vu ถอนหายใจลึกๆ

23 กุมภาพันธ์ 2534 มีรัฐประหารล้มรัฐบาลที่ขึ้นชื่อว่ามีการคอร์รัปชั่นที่เรียกว่า บุฟเฟ่ต์คาบิเน็ท
 
ฝูงชนดีใจ เอาดอกไม้ ซุปไก่สกัด ช่อดอกไม้ไปให้ทหาร
 
เฉลิมฉลอง ดีใจยกใหญ่
 

ต้นทุนประชาธิปไตย ดูแพง แต่ไม่แพง

สมการทางคณิตศาสตร์ง่ายๆ น่าจะให้สติคนที่ออกไปเสี่ยงชีวิตและก่อความเดือดร้อนให่้คนที่เขาต้องการสันติสุขกลับคืนมา

นายกรัฐมนตรีกับการยึดโยงถึงประชาชน

 

           ในการเขียนรัฐธรรมนูญในชั้นหลังๆ มีการบันทึกเจตนารมณ์ไว้ชัดเจน เพื่อป้องกัน "ศรีธนญชัย" และ "เนติบริกร" ผู้ "ใช้" รัฐธรรมนูญสนองความต้องการตามอำเภอใจของพวกตนฝ่ายตน

ข้างหลังภาพ : ดร. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

         ผมเขียนบทบรรณาธิการ วิภาษา ฉบับที่ 34 (1 พฤษภาคม-15 มิถุนายน 2554) เพื่อเป็นเกียรติแก่ครูผู้ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยท่านนี้ เพื่

ข้อสังเกตเรื่องกายภาพของความขัดแย้ง และการยกระดับความรุนแรงในเหตุการณ์พฤษภาคม 2553

มรณกรรมของคุณ ไม้หนึ่ง ก. กุนที ทำให้ผมอดนึกถึงมรณกรรมของเสธ. แดง ไม่ได้

นักเล่นกล

เมื่อครั้งยังเด็ก ความบันเทิงหนึ่งของเด็กต่างจังหวัดที่อยู่ในตลาดจะได้ชมก็คือการมาเยือนของนักเล่นกล ที่ผมเรียกอย่างนี้นอกจากจะเพราะชินกับภาษาตลาดแล้ว คำว่านักมายากลดูจะรุ่มร่ามไปไม่น้อย สำหรับผมนักเล่นกลดูจะตรงไปตรงมามากกว่า 

Pages

Subscribe to RSS - บล็อกของ Pandit Chanrochanakit