Treaties and Maps: France vs Siam, Thailand vs Cambodia เวรกรรม จึงตกอยู่กับ ประชาชน ชาวไทย โดยเฉพาะ ที่ ศรีสะเกษ
ก.
แผนที่ 1:200,000 ดังกล่าวฝรั่งเศส กับ สยาม เป็น กก ร่วม ทำด้วยกัน ผู้เป็น กก ร่วมสำรวจร่วมกับฝรั่งเศส คือ เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (มรว สท้าน สนิทวงศ์ บิดา มล บัว กิตติยากร) กับ พระองค์เจ้าบวรเดช
ข.
เมื่อพิมพ์เสร็จ ส่งจากฝรั่งเศสมาให้ กรมเทววงศ์ฯ กต สยาม กับ กรมดำรงฯ มท สยาม นี่เป็นหลักฐาน ที่ฝ่ายทนายกัมพูชา ใช้ และชนะคดี ปี 2505 คะแนน 9:3
ค.
นี่เป็นหลักฐาน ที่ฝ่ายทนายไทย คือ มรว เสนีย์ ปราโมช ไม่ยอมรับ และที่สำคัญ คือ ไม่ยอมเปิดเผย ให้ประชาชนไทย ทราบ เพราะเชื่อมั่นว่าจะชนะคดี (เกิน 100 %) ดังนั้น “เมื่อบอลแพ้ ก็ทำให้คนดู ไม่ยอมแพ้”
ง.
ทั้งสฤษดิ์ เสนีย์ ต้องปิดเรื่องนี้ไว้ นานปี ครับ ทั้งอภิสิทธิ และ พันธมิตร เสื้อเหลือง ก็ไม่ยอมรับข้อมูลนี้ เช่นกัน
จ.
สรุป สยาม Siam สมัย ร ๕ ยอมรับทั้งสนธิสัญญา และ แผนที่
แต่ แต่ ไทย Thailand สมัยพิบูลสงคราม สฤษดิ์ (ถนัด) เสนีย์ อภิสิทธิ (กษิต) พธม (สนธิ/จำลอง) ไม่ยอมรับ ครับ
ฉ.
เวรกรรม จึงตกอยู่กับ ประชาชน ชาวไทย (โดยเฉพาะ ที่ ศรีสะเกษ ครับ)
%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%
คุณสาวิตรี สุวรรณสถิต อดีตปลัดกระทรวงศึกษาฯ ผู้เคยคร่ำหวอดอยู่กับเรื่องของ "กรรมการมรดกโลก" ของฝ่ายไทย ได้แสดงความคิดเห็นไว้
"กรณีมรดกโลกสองฝั่งพรมแดนที่อี
เพราะอาจจะเป็นบทเรียนที่ให้
กล่าวโดยย่อในแง่ขององค์กรยู
แต่รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม แห่งม.ศิลปากร และ "เมืองโบราณ" กลับมีความเห็นในการแก้ปัญหาเชิ
"ปัญหามันแก้ง่าย(หนึ่ง)-ใช้