Skip to main content
Thammachart Kri-aksorn
(แปล) ฟรานซิส ฟูกูยามา: เส้นทางยาวไกลสู่ประชาธิปไตยจีนโดยชนชั้นกลาง [*]สัมภาษณ์โดย Nathan Vanderklippe ผู้สื่อข่าว Gl
ยุกติ มุกดาวิจิตร
รัฐประหารครั้งนี้มีอะไรใหม่ๆ หลายอย่าง ผมไม่เรียกว่าเป็นนวัตกรรมหรอก เพราะนวัตกรรมเป็นคำเชิงบวก แต่ผมเรียกว่าเป็นนวัตหายนะ 
Mister American
        ถ้าพูดถึงกลุ่มคนที่มีสิทธิเสียงอย่างยิ่งในช่วงวิกฤตการเมืองที่ผ่านมานั้นต้องพูดว่า กลุ่มคนชนชั้นกลางนั้นเป็นกลุ่มคนที่ดูเหมือนจะออกมาแสดงออกทางการเมืองกันอย่างมากมายผ่านการชุมนุมของกลุ่ม กปปส ที่นำโดย นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปปัตย์ ที่เริ่มต้นในเดือนต
ยาจกเร่ร่อน
แด่ พ่อแม่พี่น้องและเพื่อนที่เสนอให้ Respect your Tax ขอพูดง่ายๆ นะครับ สาเหตุที่ต้องเอาการเมืองเรื่องสิทธิการเลือกตั้ง 1 คน 1 เสียง มาใช้ ก็เพื่อมาแก้ปัญหาความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ เพราะ  ต้นทุนในชีวิตของแต่ละคนในการเริ่มต้นมันไม่เท่า
Mister American
              ช่วงสองเดือนที่ผ่านมาคนทั่วโลกต่างให้ความสนใจกับการปรากฏตัวของม๊อบ กปปส ของอดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์อย่าง นาย สุเทพ เทือกสุบรรณ ที่พึ่งต่อยอดมาจากม๊อบต่อต้าน พรบ นิรโทษกรรมมาเป็นม๊อบขับไล่รัฐบาลอย่างเต็มตัว ด้วยการชูประเด็น สภาประชาชนและการปฏิรูปป
ยุกติ มุกดาวิจิตร
 ข้อเสนอว่าด้วยการปฏิวัติประชาชนของอาจารย์ธีรยุทธไม่ได้วางอยู่บนข้อเท็จจริงของสังคมไทยปัจจุบัน การปฏิวัติประชาชนตามข้ออ้างจากประวัติศาสตร์ประเทศต่างๆ ของอาจารย์ ล้วนแสดงให้เห็นถึงการปฏิวัติของประชาชนเพื่อโค่นล้มผู้กุมอำนาจรัฐที่ไม่ชอบธรรมเพราะผูกขาดอำนาจเป็นของตนเอง ตลอดจนเป็นการโค่นอำนาจรัฐที่ไม่เหมาะสมกับยุคสมัยที่ประชาชนเป็นใหญ่มากขึ้น หากแต่เราจะถือว่า “มวลมหาประชาชน” หนึ่งล้านห้าแสนคน หรือต่อให้สองล้านคนในมวลชนนกหวีดเป็น “ประชาชน” ในความหมายนั้นได้หรือไม่ 
"ไม่มีชื่อ"
ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับเสียงของ “ชาวบ้าน” หรือไม่ เสียงของพวกเขาก็ควรมีความหมาย มีสิทธิที่จะเปล่งออกมา และควรได้รับความสำคัญเท่า ๆ กับเสียงของชนชั้นกลางด้วยเช่นกัน แต่สังคมยังให้พื้นที่แก่เสียงของคนเหล่านี้น้อยมาก เมื่อเทียบกับพื้นที่ที่ให้แก่เสียงของชนชั้นกลาง ทั้ง ๆ ที่หลายกรณีเสียงและความต้องการของชนชั้นกลางที่อยู่ห่างออกไปจากพื้นที่ส่งผลต่อปากท้องและการทำมาหากินของพวกเขาโดยตรง