achariyach's picture
ออกเดินทางไกล เพื่อเข้าใจทางใกล้ ...ไปเข้าใจคนอื่น เพื่อมาเข้าใจตัวเอง...

บทความทั้งหลายทั้งปวงในบล๊อกนี้เกี่ยวกับประสบการณ์การเดินทาง การท่องเที่ยว และการทำวิจัยของนักชาติพันธุ์วรรณาและนักมานุษยวิทยานางหนึ่ง ที่หลงไหลการเดินทางท่องเที่ยวและการวิจัยในต่างถิ่น ต่างแดน แบบ "ไปเอาเนื้อกระทบเนื้อ ใจกระทบใจ" กับผู้คนต่างวัฒนธรรม

บล็อกของ achariyach

ไปคุยกับพ่อค้าวัวพม่าข้ามแดนในตลาดแม่สอด...ตลาดลอดรัฐ ข้ามรัฐ ซ้อนรัฐขนาดใหญ่ของคนเบี้ยน้อย

แม้จากประมาณการตัวเลขจากกรมปศุสัตว์พบว่ามีวัวเนื้อที่เกษตรกรไทยขุนเพื่อส่งออกในนาม “วัวไทย” ประมาณ 6 ล้านตัว แต่เชื่อหรือไม่ว่า วัวที่เอามาขุนจำนวนมากมายเหลือประมาณนั้นถูกนำเข้ามาจากประเทศพม่า แต่ละสัปดาห์ มีวัวประมาณ 3,000 – 5,000 ตัว หรือเดือนหนึ่งๆ ก็มีประมาณ 12,000 - 20,000 ตัว ได้ถูกนำข้ามแด

ตามไปคุยกับผู้ไทแดงที่เวียงไซ สปป.ลาว...ไปอยู่เวียงไซตั้งแต่เมื่อไร กลายเป็นลาวแล้ว ฤามิใช่?

เดินตามก้น อ.อานันท์ ไปเที่ยวซิดนีย์ 1 วัน (อยากรู้มั้ยว่า อ.อานันท์เที่ยวแบบ “เชิงเดี่ยว” หรือ “เชิงซ้อน”)

ครบปีแล้วสินะที่เราเดินตามก้นอาจารย์อานันท์ไปสำรวจซิดนี่ย์... เมื่อเอารูปเก่าๆ มาดู...ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่า วันนั้น อาจารย์อานันท์ กาญจนพันธุ์ ในวัย ๖๘ ปี นอกจากจะสอนหนังสือมาราธอน สัปดาห์ละไม่น้อยกว่า ๙ ชม.

ไปคุยกับผู้ไทแดง-ไทขาวที่แทงฮว๋า เวียดนาม: ชื่อไทแดงมาจากไหน ใครเรียก ใครยอมรับ?

เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ.

ไปเม้าท์มอยกับครู ร.ร.มอญ สมุทรสาคร แล้วจรข้ามด่านเจดีย์สามองค์ไปเม้าท์ต่อที่ ร.ร.มอญในเมียนมาร์

มอญในเมียนมาร์ ไม่ว่าจะอยู่ที่เมียนมาร์แลนด์หรือไทยแลนด์ ต่างก็ได้ชื่อว่า เป็น “คนอื่น” ในแผ่นดินที่ (เคย) เป็นของตัวเอง ถ้าเรามองภายใต้กระบวนทัศน์ที่แบบมองอะไรแบบ “เชิงเดี่ยว”  

ทำไมลูกหลานแรงงานเมียนมาร์ที่สมุทรสาครเรียน/ไม่เรียนในโรงเรียนไทย?

แรงงานชาวเมียนม่าร์ (พม่า มอญ ทวาย อารกัน ฉาน กระเหรี่ยง ฯลฯ) ที่สมุทรสาคร แม้มียอดลงทะเบียนทั้งเก่าและใหม่ถึง 387,510 คน แต่จากการประมาณการของ NGOs ทั้งไทยและเมียนม่าร์ น่าจะมีประมาณ 600,000 – 700,000 คน ในจำนวนนี้มีผู้ติดตามไม่น้อยกว่า 15,000 คน แต่เชื่อหรือไม่ว่า เด็กเหล่านี้เพียงร้อยละ 7.6 ที

ไปเจอ “วันเฉลิม” เวอร์ชั่นพม่าที่โดนทางการจับมา “คุ้มครองและพัฒนาชีวิต”

เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาผู้เขียนได้ไปนิเทศน์นิสิตที่ฝึกงานที่บ้านพักเด็กและครอบครัว แห่งหนึ่งของทางราชการ และได้พบกับเด็กชายชาวพม่า ๒ คนที่ถูกตำรวจจับและส่งให้บ้านพักเด็กแห่งนี้ เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็ก เด็กคนแรกอายุประมาณ ๑๑-๑๒ ขวบ คนที่สองเป็นน้องอายุประมาณ ๗-๘ ขวบ

ไปดู “คนดู” บั้งไฟพญานาค ตอนที่ 3: ไปนั่งคุยกับขอทาน

ในฐานะนักมานุษยวิทยาการท่องเที่ยว ผู้เขียนจะรู้สึกฟินฝุดๆ เมื่อพบว่าพื้นที่ท่องเที่ยวใดเปิดโอกาส เปิดที่ เปิดทางให้คนเล็กคนน้อยได้ทำมาหากิน และเปิดที่ เปิดทาง เปิดโอกาส ให้คนเล็กคนน้อยได้เที่ยวในราคาถูกแบบบ้านๆ เช่นกัน

ไปดู “คนดู” บั้งไฟพญานาค ตอนที่ 2: เมื่อ (พญา)นาคถูกทำให้เป็นชายขอบในพิธีบวงสรวงพญานาค

บั้งไฟพญานาค เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นหลายชั่วอายุคนแล้ว ไม่ใช่ของใหม่ แต่ที่น่าสนใจเพราะมันเพิ่งได้รับความสนใจเมื่อไม่กี่สิบปีมานี้เอง จำได้ว่าเมื่อตอนเป็นวัยรุ่น ผู้เขียนใช้ชีวิตไปๆ มาๆ ระหว่างกรุงเทพฯ – หนองคาย 3 ปี พ่อเล่าให้ฟังว่ามีบั้งไฟขึ้นกลางลำน้ำโขงตอนออกพรรษา แต่ไม่มีใครในบ้านสนใจไปดูแ

ไปดู “คนดู” บั้งไฟพญานาค ตอนที่ 1: อะไรแท้ อะไรเทียม

เมื่อมีคนรู้ว่าผู้เขียนพานิสิตจำนวน 16 คนไปถ่ายทำสารคดีบั้งไฟพญานาค ส่วนใหญ่ต่างก็ถามว่า มา “พิสูจน์” บั้งไฟพญานาคหรือ?

Pages

Subscribe to RSS - บล็อกของ achariyach