Skip to main content

บล็อกกาซีน ประชาไท

มะฉ่วยหวา
            ก่อนพม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษไม่นาน รัฐธรรมนูญฉบับแรกถือกำเนิดขึ้น (ค.ศ.1947) และใช้ต่อเนื่องมาจนถึงปี 1962 เมื่อนายพลเนวินทำรัฐประหารและประกาศนำนโยบาย “วิถีพม่าสู่ระบอบสังคมนิยม” (Burmese Way to Socialism) ของสถาปฏิวัติมาใช้  รัฐธรรมนูญฉบับแรกจึงถูก
บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ
  ถ้าร่างรัฐธรรมนูญถูกคว่ำก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะมีบางคนยอมตนเป็นระเบิดพลีชีพ
บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ
เครื่องบินลดระดับลงเรื่อยๆ จนเครื่องแท็กซี่ลงจอดได้ ผมเดินทางมากรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เพื่อทำงานวิจัย ณ มหาวิทยาลัยโตเกียวเพื่อต่างประเทศศึกษา หรือ Tokyo University of Foreign Studies เดิมทีเรียกกันว่ามหาวิทยาลัยโตเกียวภาษาต่างประเทศ คนที่นี่เรียกอย่างย่อว่า "โตเก
มะฉ่วยหวา
รัฐสภาของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์หรือที่เรียกว่า “ปยีตองซุ้ ลุ้ดด่อ” (Pyidaungsu Hluttaw) ประกอบไปด้วย 3 สภา ได้แก่ สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) หรือ “ปยีตุ้ ลุ้ดด่อ” (Pyithu Hluttaw) สภาชนเผ่า (House of Nationalities) หรือ “อ
Chaya Killer Silent
ใครบางคนอาจมองว่า “รอยสัก” คือความเท่
อรรถสิทธิ์ เมืองอินทร์
  (ผมยืนยันว่าบทความแปลคือ "จอห์น ราเบ้ นาซีผู้เป็นพระโพธิสัตว์แห่งเมืองนานกิง" นั้นต้นฉบับเป็นของผมเองซึ่งได้เขียนลงบล็อกมานานแล้ว หลังจากไปลองค้นหาดูกูเกิลก็พบว่ามีการลอกเอาบทความของผมไปลงในเว็บของตัวเอ
gadfly
จากกรณีของ อ.สายพิณ จนถึงกรณีของ อ.ลลิตา รวมแล้วน่าจะประมาณกว่าสองทศวรรษ เวลาสองทศวรรษสำหรับบ้านเมืองอื่น ผมเชื่อว่าสถานการณ์ การรับรู้ ทัศนะคติ หรือโครงสร้างทางการเมือง-วัฒนธรรม ของพวกเขาน่าจะเปลี่ยนไปเยอะแล้ว แต่สำหรับบ้านเมืองของเรา ผมเชื่อว่ารูปแบบความขัดแย้ง ปรากฎการณ์อาจเปลี่ยนไปบ้าง แต่โดยแก่นแท้แล้วยังคงเหมือนเดิม
ยุกติ มุกดาวิจิตร
การได้อ่านงานทั้งสามชิ้นในโครงการวิจัยเรื่อง “ภูมิทัศน์ทางปัญญาแห่งประชาคมอาเซียน” ปัญญาชนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (และที่จริงได้อ่านอีกชิ้นหนึ่งของโครงการนี้คืองานศึกษาปัญญาชนของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามคนสำคัญอีกคนหนึ่ง คือเจื่อง จิง โดยอ.มรกตวงศ์ ภูมิพลับ) ก็ทำให้เข้าใจและมีประเด็นที่ชวนให้คิดเกี่ยวกับเรื่องปัญญาชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้น ผมคงจะไม่วิจารณ์บทความทั้งสามชิ้นนี้ในรายละเอียด แต่อยากจะตั้งคำถามเพิ่มเติมบางอย่าง และอยากจะลองคิดต่อในบริบทที่กว้างออกไปซึ่งอาจจะมีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์กับผู้วิจัยและผู้ฟังก็สุดแล้วแต่

แท็กล่าสุด

แท็กยอดนิยม