Skip to main content

 

ต่อค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน ดิฉันต้องขอชี้แจง (อีกครั้ง-เผื่อ ท่านที่เพิ่งจะเข้ามาอ่าน) ว่า คำต่างๆ ที่ดิฉันค้นคว้ามานี้ มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บางคำเราก็รับมาโดยตรงผ่านวรรณกรรม การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมบ้าง แต่บางคำก็รับผ่านภาษาบาลี, สันสกฤต, จีน และ อื่นๆ ทั้งเราและเขา บางคำก็ออกเสียงคล้ายกัน และแปลเหมือนกันโดยไม่ได้นัดหมายค่ะ ส่วนคำใดจะมาทางใดนั้น ณ ตอนนี้ดิฉันไม่มีเวลาค้นคว้าต่อนะคะ และเลขหน้าที่ระบุในตารางด้านล่างนี้หมายถึงเลขหน้าในพจนานุกรมฉบับมติชนนะคะ

สำหรับวันนี้ขอเสนอ ย ถึง ศ ค่ะ

 

 

คำศัพท์

เลขหน้า

ตัวเขียนในภาษามลายู/

อินโดนีเซีย*

ตัวเขียนในภาษาชวา

คำอ่าน

ความหมาย

- ย -

 

 

 

 

 

ย่องเหง็ด

704

 

jonget

อ-เง็ด

จ้องหน่อง

ยะวา, ยาว่า

705

Jawa

 

า-วา

เกาะชวา, ชาวชวา, เกี่ยวกับชวา

ย่าหยา

711

nyonya

 

โญ-ญา

นาง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไม่ใช่ชาวอินโดนีเซีย เช่น ชาวจีน, บรรดาหญิงชาวตะวันตก), สุภาพสตรี, หญิง, ผู้หญิง,ภรรยา

ยาหยี

711

 

yayi

ยา-ยี

น้องรัก, น้องผู้หญิง, น้องชายหรือน้องสาว         

ยิหวา

712

 

jiwa

จี-วา

ดวงชีวิต, วิญญาณ, จิตวิญญาณ, พลังจิต

ยี่เก

712

dikir

 

ดี-กีรฺ

ลิเก

- ร -

 

 

 

 

 

รส

725

rasa

 

รา-ซา

รสชาติ, การชิมรส, ประสาทรส, ความรู้สึกสัมผัส, ความรู้สึกจากการสัมผัส, ประสาทสัมผัส, ความตื่นเต้น, ไหวพริบ, ประสาททั้งห้า, อินทรีย์สัมผัส, เหตุผล, ความคิดเห็น

รองเง็ง

726

rongngeng

 

ร็อง-เง็ง

การแสดงชนิดหนึ่ง

ระเด่น

728

 

raden

รา-เด็น

คำที่ใช้เรียกโอรสและธิดาของราชา, คำที่ใช้เรียกบรรดาขุนนางสูงศักดิ์, คำที่ใช้เรียกบุคคลเชื้อพระวงศ์

ระตู

728

 

ratu   

รา-ตู

ราชินี, กษัตรี, เทพธิดา, เทพี, นางงาม

รักษ์, รักษา

733

 

reksa

เริก-ซา

พิทักษ์, เฝ้า, ปกป้อง, ป้องกันรักษา, ดูแล, คุ้มครอง

ราช, ราชา

739, 740

raja

 

รา-า, รา-ญอ

กษัตริย์,ประมุข, ผู้นำเผ่า, พระราชา, นักธุรกิจที่ร่ำรวยและมีอิทธิพลมาก, โชกุน (ของญี่ปุ่น), ผู้ที่มีอำนาจมาก, หมากรุกที่เดินข้ามกระดานจนได้เป็นเจ้า

ราชินี

740

rani

 

รา-นี

ราชินี, กษัตรี, เทพธิดา, เทพี, นางงาม

ราตรี

741

 

ratri

รา-ตรี

กลางคืน

ราหุ, ร่าหุ์, ราหู

742

Rahu

 

รา-ฮู

ราหูอมจันทร์, อสูรกายในตำนานซึ่งเชื่อว่าสามารถกลืนกินดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ได้

รูป

747

rupa

 

รู-ปา, รู-ปอ

รูปแบบ, รูปร่าง, ทรวดทรง, แบบฟอร์ม, สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, โฉม, การปรากฏตัว, การไปศาล, สิ่งที่ปรากฏ, ลักษณะท่าทาง, โฉมภายนอก

รูปิยะ

747

Rupiah

 

รู-เปียฮ์

หน่วยเงินตราหลักของอินโดนีเซีย

โรตี

753

roti

 

โร-ตี

ขนมปัง, ขนมปังนุ่มและค่อนข้างหวาน

- ล -

 

 

 

 

 

ลองกอง

765

dokong

 

ดอ-ก็อง

ลองกอง

ละคร

767

 

lakon

ลา-ค็อน

ละคร, การแสดง

ละเมาะ

767

semak

 

เซอ-มะกฺ

ป่าหย่อม ๆ

ลักษณ, ลักษณะ

769

laksana

 

ลัก-ซา-นา

คุณภาพ,ลักษณะ,ความดีเลิศ,คุณภาพสูง,คล้ายคลึงกับ,เหมือนกับ

ลังสาด, ลางสาด

769, 771

langsat

 

ลัง-สาด

ต้นลางสาดและผลของมัน

ลาวัณย์

773

lawa

 

ลา-วา

สวย

ลิเก

774

dikir

 

ดี-กีรฺ

ลิเก

เลหลัง

786

 

lelang

เล-หลัง

การเลหลัง, การประมูลของ, การขายทอดตลาด

เลอะเทอะ

786

 

lethek

เลอ-เติก

สกปรก

โลก, โลกา

790

loka

 

โล-กา

แผ่นดิน, โลก

- ว -

 

 

 

 

 

วงศ์

798

wong

 

วง

คน, ผู้คน,

วนิดา

799

wanita

 

วา-นี-ตา

ผู้หญิง,สตรี

วรรณ-, วรรณะ, วรรณา

799

warna

 

วารฺ-นา

สี, สีสัน

 

วัน

802

 

awan

อา-วัน

เวลากลางวัน

วาจา

805

wacana

 

วาจานา

การพูด, ความคิด, วาทะ

วายุ, วาโย

806

bayu

 

บา-ยุ

ลม, สายลม, เทพเจ้าแห่งสายลมในศาสนาฮินดู

วารุณ

806

 

warun

วา-รุน

ชื่อต้นไม้

ว่าว

806

wau

 

ว่าว

ว่าว

วิทย / วิทยา

809

widya

 

วี-เดีย

วิชาความรู้

วินาศ

809

binasa

 

บี-นา-ซา

ความฉิบหาย,พัง

วิลันดา

811

Belanda

 

เบอ-ลัน-ดา

ชาวฮอลันดา, ชาวดัตช์

วิษณุ

811

Wisnu

 

วิส-นู

พระนารายณ์

วิหาร

811

wihara

 

วี-ฮา-รา

วัด, อารามในพระพุทธศาสนา

วีระ

812

wira

 

วี-รา

บุรุษผู้กล้าหาญ

- ศ -

 

 

 

 

 

ศรี

818

seri

 

เซอ-รี

ความสวยงาม,ศักดิ์ศรี, ความสง่างาม, สิริมงคล

ศักดิ, ศักดิ์

819

sakti  

 

ซัก-ตี

เหนือธรรมชาติ,อภินิหาร,ศักดิ์สิทธิ์,ประหลาด,มหัศจรรย์,เกินปกติ,คาดไม่ถึง, อำนาจศักดิ์สิทธิ์, อำนาจวิเศษ

ศัตรู

819

setru

 

เซอ-ตรู

ศัตรู, ข้าศึก, คู่อริ, ฝ่ายศัตรู, กำลังทหารฝ่ายศัตรู, ประเทศศัตรู, ชนชาติศัตรู

ศิลา

 

821

sela

 

เซ-ลา

หิน

ศีล

822

sila        

 

ซี-ลา

หลักศีลธรรมและจริยธรรม

 



* เนื่องจากภาษาอินโดนีเซียมีที่มาจากภาษามลายู เพราะฉะนั้นจะกำหนดให้อยู่ในช่องเดียวกัน

 

บล็อกของ onanong

onanong
  คราวนี้จะขอพูดถึงคำสรรพนามในภาษาอินโดนีเซียนะคะ คำสรรพนามในภาษาอินโดนีเซียนั้นมีอยู่มากมายเพราะเป็นสังคมที่มีลำดับชั้นและมรรยาทมากเหมือนของไทย การแทนตัวผู้พูดกับผู้ฟังจะขึ้นอยู่กับวัยวุฒิ และสถานะของคนที่เราพูดด้วย
onanong
 มาเรียนภาษาอินโดนีเซียกันต่อนะคะ คราวนี้จะเป็นพยัญชนะและสระประสมนะคะ และแถมด้วยคำที่ออกเสียงใกล้ๆ กันแต่ความหมายไปคนละเรื่องเลยค่ะ
onanong
ตามสัญญานะคะ คราวนี้จะเป็นการสอนภาษาอินโดนีเซียเบื้องต้นง่ายๆ สำหรับผู้สนใจเรียนภาษาอินโดนีเซียที่ไม่มีพื้นฐานมาก่อน วันนี้ขอเริ่มด้วยการออกเสียงพยัญชนะ และสระนะคะ สำหรับผู้ที่ต้องการให้สอนภาษาอินโดนีเซียในระดับที่ยากขึ้นไป อดใจรอหน่อยนะคะ จะค่อยๆ เพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ
onanong
คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย, ชวาในพจนานุกรมฉบับมติชน พ-ม
onanong
วันที่ 28 ตุลาคมถือเป็นวันกำเนิดภาษาอินโดนีเซีย ซึ่งมีที่มานั้นน่าสนใจยิ่งว่ามาจากการประกาศ“ คำสาบานของเยาวชน” ประธานของสโมสรนักเรียนอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ปี 1928
onanong
“Indonesia Mengajar” เป็นโครงการที่ถ้าเรียกเป็นภาษาไทยก็น่าจะประมาณ “ครูอาสาอินโดนีเซีย” ซึ่งความสำเร็จของมันอาจหมายถึงการทำให้คนอินโดนีเซียหวนคิดถึงยุคสมัยแห่งการสร้างชาติ, คิดถึงชาติที่ unity แต่ในมุมกลับก็มีคำถามบางอย่างเช่นกัน
onanong
ต่อค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน ดิฉันต้องขอชี้แจง (อีกครั้ง-เผื่อท่านที่เพิ่งจะเข้ามาอ่าน) ว่า คำต่างๆ ที่ดิฉันค้นคว้ามานี้ มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บาง
onanong
นานมาแล้วมีลูกศิษย์ที่ไปเรียนต่อต่างประเทศ ขอให้ช่วยสอนคำทักทายภาษาอินโดง่ายๆ เพราะที่นั่นเขามีเพื่อนชาวอินโดอยู่จำนวนหนึ่ง แล้วเขาอยากจะทักทายเพื่อนๆ เป็นภาษาอินโดบ้าง ดิฉันก็เลยจัดให้ และยังเก็บไฟล์ไว้ เลยคิดว่าเผื่อจะมีท่านที่สนใจอยากทราบบ้างค่ะ
onanong
มาแล้วค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บางคำเราก็รับมาโดยตรงผ่านวรรณกรรม การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมบ้าง แต่บางคำก็รับผ่านภาษาบาลี สันสกฤต ทั้งเราและเขา บางคำก็ออกเสียงคล้ายกัน และแปลเหมือนกันโดยไม่ได้นัดหมายค่ะ
onanong
วันนี้ขอสลับพูดถึงคำขวัญของประเทศอินโดนีเซียนะคะ สำหรับท่านผู้อ่านที่ต้องการติดตามคำภาษามลายู อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายคำภาษาไทยในพจนานุกรมฉบับมติชนไม่ต้องกังวลนะคะ จะทยอยนำเสนอต่อไปค่ะ และก็ท่านที่คิดว่า...โอ้ย...จะรออ่านจนครบ ฮ เมื่อไหร่เนี่ย ... มันไม่ได้ยาวขนาดนั้นค่ะ คิดว่าซักห้าหกครั้งก็จบพอดีค่ะ