บล็อกของ Pandit Chanrochanakit
ไม่มีอะไรมาก อยากบอกว่า ถอดถอนย้อนหลังได้ก็ดีนะครับ นะจ๊ะ
รัฐบาลนี้จะอยู่ค้ำฟ้ารึไง
ข้าพเจ้ามีความฝัน แด่ ดร. มาร์ติน ลูเธอร์ คิง และวันของเขา 19 มกราคม (บางส่วนจากบทนำวิภาษา 60)
ประโยคหนึ่งที่ถูกสลักจารึกที่ชานปลายบันได บนทางเดินก่อนเข้าอนุสรณ์สถานลินคอล์น (Lincoln Memorial) ที่ซึ่งถือกันว่าเสมือนวิหารแห่งประชาธิปไตยอันเป็นที่ตั้งของรูปสลักอับราฮัม ลินคอล์น ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา สลักเอาไว้ว่า “ข้าพเจ้ามีความฝัน“ (I have a dream) ประโยคนี้เป็นบทเริ่มต้นของสุนทรพจน์ข
หลักการในการทำหน้าที่ของสื่อจากนักธุรกิจผู้ซื้อกิจการของ Washington Post เมื่อ ค.ศ. 1933
ปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ผมต้องไปประชุมกับนักวิชาการที่ได้รับทุนฟุลไบรท์ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี
สิ้นปีแล้ว จะไปไหนก็ขอให้เดินทางปลอดภัยนะครับ
ปลายปีแบบนี้หลายคนเดินทางกลับบ้านหรือไปเที่ยวทางไกลกันมากมาย ทำให้คิดถึงเรื่องที่ผมเจอกับตัวเองเมื่อหลายปีก่อนระหว่างขับรถบนถนนสี่เลนจากนคร
ชีวิตนักวิชาการในเคมบริดจ์ แมสซาจูเส็ตส์ (1)
หลังจากผมมาถึงเมืองเคมบริดจ์เป็นเดือน เริ่มจากการหาที่พัก ไปประชุมที่วอชิงตัน ดีซี หาซื้อเสื้อผ้ารับความหนาว รองเท้า จัดการเรื่องอาหารการกิน มีเรื่องเล็กๆ น้อยๆ งานเอกสาร ตลอดจนตั้งสถานีทำงานที่บ้าน จนได้ห้องใต้หลังคาของบ้านอายุกว่าร้อยไป ห่างจาก Harvard University สองสถานีรถไฟใต้ดิน ก็เริ่มตั้งห
ย้อนรำลึกในวาระ 1 ปี สมัชชาปกป้องประชาธิปไตย (สปป.)
ผมขออนุญาตเขียนบันทึกความจำเอาไว้นะครับ ในโอกาสที่ครบรอบหนึ่งปีของการก่อตั้งกลุ่มนักวิชาการและเครือข่ายประชาชนที่เรียกตัวเองว่า สมัชชาปกป้องประชาธิปไตย หรือ สปป.
Cinematic Narratives in Hero: Primordial Father and Assassins
บทความเก่าๆ เป็นรายงานสมัยเรียน ป.
ธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2502 กับมาตรา 17
ในรายงานวิจัยที่ผมเสนอต่อโครงการเมธีวิจัยอาวุโส ศ. รังสรรค์ ธนะพรพันธ์ุ ได้เขียนถึงเรื่องจุดเริ่มต้นและชีวิตทางการเมืองของธรรรมนูญฉบับนี้ ตลอดจนผลการใช้มาตรา 17 เอาไว้ดังนี้ ครับ
ว่าด้วยการปฏิวัติวัฒนธรรม
ได้เคยเขียนบทนำวิภาษา 23 ไว้เมื่อปลายปี 2553 ไว้เกี่ยวกับเรื่องปฏิวัติวัฒนธรรม ดังนี้
การปฏิวัติวัฒนธรรมที่กลายเป็นสินค้า