Skip to main content

ต่อค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน ดิฉันต้องขอชี้แจง (อีกครั้ง-เผื่อท่านที่เพิ่งจะเข้ามาอ่าน) ว่า คำต่างๆ ที่ดิฉันค้นคว้ามานี้ มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บางคำเราก็รับมาโดยตรงผ่านวรรณกรรม การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมบ้าง แต่บางคำก็รับผ่านภาษาบาลี, สันสกฤต, จีน และ อื่นๆ ทั้งเราและเขา บางคำก็ออกเสียงคล้ายกัน และแปลเหมือนกันโดยไม่ได้นัดหมายค่ะ ส่วนคำใดจะมาทางใดนั้น ณ ตอนนี้ดิฉันไม่มีเวลาค้นคว้าต่อนะคะ

สำหรับวันนี้ขอเสนอ บ ถึง ป ค่ะ

 

คำศัพท์

เลขหน้า

ตัวเขียนในภาษามลายู/

อินโดนีเซีย

ตัวเขียนในภาษาชวา

คำอ่าน

ความหมาย

- -

 

 

 

 

 

บัง

493

abang

 

อา-บัง

พี่ชาย, คำใช้เรียกผู้ชายชาวอิสลามที่อายุมากกว่า

บันทึง

496

 

kangen

คา-เงิน

ต้องการพบอย่างยิ่ง, คิดถึง

บ้าบ๋า

500

babah

 

บา-บะฮฺ

คำสรรพนามเรียกชายสูงอายุ  หรือชายกลางคนชาวจีนในอินโดนีเซีย

บาหลี

501

Bali

 

บา-ลี

ชื่อเกาะแห่งหนึ่งทางตะวันออกของเกาะชวา

บิกู, บีกู

502

biku, biksu

 

บี-กู, บิก-ซุ

พระภิกษุ

บุระ, บุรี, บูรี

506

pura

 

ปู-รา

แท่นบูชา, หิ้งบูชา, ศาลเจ้า, อาราม, สถานที่บูชา, สถูป,เจดีย์ปูชนียสถาน, วิหารบูชา

บุหงัน, บุหงา

506

bunga

 

บู-งา

ดอกไม้, ดอกเบี้ยดอกไม้ปลอมชุดไพ่ดอกสีเดียวกัน

บุหงาประหงัน

507

 

bunga prangan

บู-งา-ปรา-งัน

ดอกพุทธชาด

 

บุหงามลาซอ

507

 

bunga melati

บู-งา-เมอ-ลา-ตี

ดอกมะลิ

บุหรง

507

burung

 

บู-รุง

นก

บุหลัน

507

bulan

 

บู-ลัน

เดือนดวงจันทร์

บูชา

507

puja

 

ปู-

(การ)บูชา, สักการะ, บวงสรวง, กราบไหว้, สวดมนตร์, สิ่งที่บูชา

แบหลา

512

 

bela

เบ-ลา

การเสียสละ, การบูชายันต์, การพลี, การฆ่าตัวตายตามคนที่รักด้วยความซื่อสัตย์ด้วยวิธีการเดียวกัน

- -

 

 

 

 

 

ประชา

525

 

praja

ปรา-

ประชาชน, หมู่คน

ประตู

527

pintu

 

ปิน-ตู

ประตู

ประเสบันอากุง

533

 

paseban agung

ปา-เซ-บัน-อา-กุ

วังลูกหลวง, วังหลานหลวง

ปราสาท

537

prasasti

 

ปรา-ซัส-ตี

บันทึกหรือข้อเขียนที่ปรากฏบนศิลา

ปอเนาะ

546

pondok

 

ปอน-เดาะกฺ

สถานศึกษาเกี่ยวกับคำสอนศาสนาอิสลาม

ป๊ะ

546

pak, bapak, bapa

 

ปะกฺ, บา-ปะกฺ, บา-ปา

พ่อหรือบิดา (ในบางครั้ง “Pak หรือ “Bapak เป็นคำทำหน้าที่แทนคำว่า นายเช่น Pak Abu (นายอาบู)

 

ปะการัง

546

karang

 

กา-รัง

หินปะการัง,สิ่งหรือของประดับที่ทำด้วยหินปะการัง,สีหินปะการัง (แดงอมเหลือง,ชมพู),โขดหินปะการัง, เกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากหินปะการัง

ปะงาบปะงาบๆ

547

terngap-ngap

 

เตอรฺ-งับ-งับ

อาการอ้าปากและหุบลงช้าๆ สลับกันไป ฐานเพราะหายใจไม่สะดวก

ปะตาปา

547

 

petapa

เปอ-ตา-ปา

ฤๅษี, นักบวช

ปะตาระกาหลา

547

 

petarakala

เปอ-ตา-รา-กา-ลา

เทวดาผู้ใหญ่

ปะตาหลา

547

 

petala

เปอ-ตา-ลา

บวช

ปะหงับ, ปะหงับๆ

547

tercungap-cungap

 

เตอรฺ-จูงาบ-จูงาบ

อาการที่ทำปากหงับๆ เพราะเหน็ดเหนื่อย หรือ หายใจไม่สะดวก

ปะหนัน

547

pengantin

pandan

 

เปอ-งัน-ติน

ปัน-ดัน

ต้นไม้ที่มีดอกกลิ่นหอม

ใบเตย, พืชตระกูลใบเตย เช่น ลำเจียก

ปะหมันอาหยี

547

pakman

 

ป๊ะ-มัน

น้า, อา, ลุง (ผู้ชาย)

ปัตตาเวีย

550

Batavia

 

บา-ตา-ฟี

ปัตตาเวีย ชื่อเก่าของจาการ์ตา

ปันจุเหร็จ

551

panjul

 

ปัน-จุ

มีลักษณะนูนขึ้นที่ด้านหลังศีรษะ

ปั้นเหน่ง

551

 

peningset

เปอ-นิง-เซิต

สิ่งของที่ฝ่ายชายให้แก่ฝ่ายเจ้าบ่ายมอบให้ฝ่ายเจ้าสาวเป็นเครื่องแสดงว่าได้ยอมรับการสู่ขอ

ปาตี

555

 

Bupati

บู-ปา-ตี

ผู้ว่าราชการผู้สำเร็จราชการ

ปาเตะ

555

patik

 

ปา-ติก

ข้า ข้าพเจ้า  หม่อมฉัน (ส่วนใหญ่ใช้กรณีสนทนาหรือพูดกับพระราชา(พระมหากษัตริย์)

ปาเต๊ะ

555

batik

 

บา-ติก

ผ้าย้อมสีชนิดหนึ่ง ใช้ขี้ผึ้งเหลวเคลือบบางตอนที่ไม่ต้องการให้มีสีสันหรือลวดลาย

ปุตตะ

560

putera

 

ปู-เตอ-รา

เจ้าชาย,พระราชนัดดา,กษัตริย์,เจ้าผู้ครองนคร,ผู้ดีเด่น, บุตรชาย,คำที่ใช้เรียกคนผู้ชายหรือเด็กผู้ชายที่มีอาวุโสน้อย,เพศชาย

ปูชา

562

puja

 

ปู-

การบูชา

แปลก

572

palik

 

ปา-ลิก

แปลก

  

บล็อกของ onanong

onanong
  คราวนี้จะขอพูดถึงคำสรรพนามในภาษาอินโดนีเซียนะคะ คำสรรพนามในภาษาอินโดนีเซียนั้นมีอยู่มากมายเพราะเป็นสังคมที่มีลำดับชั้นและมรรยาทมากเหมือนของไทย การแทนตัวผู้พูดกับผู้ฟังจะขึ้นอยู่กับวัยวุฒิ และสถานะของคนที่เราพูดด้วย
onanong
 มาเรียนภาษาอินโดนีเซียกันต่อนะคะ คราวนี้จะเป็นพยัญชนะและสระประสมนะคะ และแถมด้วยคำที่ออกเสียงใกล้ๆ กันแต่ความหมายไปคนละเรื่องเลยค่ะ
onanong
ตามสัญญานะคะ คราวนี้จะเป็นการสอนภาษาอินโดนีเซียเบื้องต้นง่ายๆ สำหรับผู้สนใจเรียนภาษาอินโดนีเซียที่ไม่มีพื้นฐานมาก่อน วันนี้ขอเริ่มด้วยการออกเสียงพยัญชนะ และสระนะคะ สำหรับผู้ที่ต้องการให้สอนภาษาอินโดนีเซียในระดับที่ยากขึ้นไป อดใจรอหน่อยนะคะ จะค่อยๆ เพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ
onanong
คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย, ชวาในพจนานุกรมฉบับมติชน พ-ม
onanong
วันที่ 28 ตุลาคมถือเป็นวันกำเนิดภาษาอินโดนีเซีย ซึ่งมีที่มานั้นน่าสนใจยิ่งว่ามาจากการประกาศ“ คำสาบานของเยาวชน” ประธานของสโมสรนักเรียนอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ปี 1928
onanong
“Indonesia Mengajar” เป็นโครงการที่ถ้าเรียกเป็นภาษาไทยก็น่าจะประมาณ “ครูอาสาอินโดนีเซีย” ซึ่งความสำเร็จของมันอาจหมายถึงการทำให้คนอินโดนีเซียหวนคิดถึงยุคสมัยแห่งการสร้างชาติ, คิดถึงชาติที่ unity แต่ในมุมกลับก็มีคำถามบางอย่างเช่นกัน
onanong
ต่อค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน ดิฉันต้องขอชี้แจง (อีกครั้ง-เผื่อท่านที่เพิ่งจะเข้ามาอ่าน) ว่า คำต่างๆ ที่ดิฉันค้นคว้ามานี้ มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บาง
onanong
นานมาแล้วมีลูกศิษย์ที่ไปเรียนต่อต่างประเทศ ขอให้ช่วยสอนคำทักทายภาษาอินโดง่ายๆ เพราะที่นั่นเขามีเพื่อนชาวอินโดอยู่จำนวนหนึ่ง แล้วเขาอยากจะทักทายเพื่อนๆ เป็นภาษาอินโดบ้าง ดิฉันก็เลยจัดให้ และยังเก็บไฟล์ไว้ เลยคิดว่าเผื่อจะมีท่านที่สนใจอยากทราบบ้างค่ะ
onanong
มาแล้วค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บางคำเราก็รับมาโดยตรงผ่านวรรณกรรม การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมบ้าง แต่บางคำก็รับผ่านภาษาบาลี สันสกฤต ทั้งเราและเขา บางคำก็ออกเสียงคล้ายกัน และแปลเหมือนกันโดยไม่ได้นัดหมายค่ะ
onanong
วันนี้ขอสลับพูดถึงคำขวัญของประเทศอินโดนีเซียนะคะ สำหรับท่านผู้อ่านที่ต้องการติดตามคำภาษามลายู อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายคำภาษาไทยในพจนานุกรมฉบับมติชนไม่ต้องกังวลนะคะ จะทยอยนำเสนอต่อไปค่ะ และก็ท่านที่คิดว่า...โอ้ย...จะรออ่านจนครบ ฮ เมื่อไหร่เนี่ย ... มันไม่ได้ยาวขนาดนั้นค่ะ คิดว่าซักห้าหกครั้งก็จบพอดีค่ะ