Skip to main content

 

 

 

สุดท้ายแล้วค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน ดิฉันต้องขอชี้แจง (อีกครั้ง-เผื่อ ท่านที่เพิ่งจะเข้ามาอ่าน) ว่า คำต่างๆ ที่ดิฉันค้นคว้ามานี้ มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บางคำเราก็รับมาโดยตรงผ่านวรรณกรรม การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมบ้าง แต่บางคำก็รับผ่านภาษาบาลี, สันสกฤต, จีน และ อื่นๆ ทั้งเราและเขา บางคำก็ออกเสียงคล้ายกัน และแปลเหมือนกันโดยไม่ได้นัดหมายค่ะ ส่วนคำใดจะมาทางใดนั้น ณ ตอนนี้ดิฉันไม่มีเวลาค้นคว้าต่อนะคะ และเลขหน้าที่ระบุในตารางด้านล่างนี้หมายถึงเลขหน้าในพจนานุกรมฉบับมติชนนะคะ

 

 

คำศัพท์

เลขหน้า

ตัวเขียนในภาษามลายู/

อินโดนีเซีย*

ตัวเขียนในภาษาชวา

คำอ่าน

ความหมาย

- ส -

 

 

 

 

 

สตูป, สถูป

831, 832

stupa

 

สะ-ตู-ปา

สถูป

สนุก

833

seronok

 

เซอ-โร-น็อก

ความเบิกบานรื่นเริง

สบู่

834

sabun

 

ซา-บุน

สบู่

สไบ

834

sebai

 

เซอ-ไบ

ผ้าห่มผู้หญิง

สมุทร

840

samudra

 

ซา-มู-ดรา

มหาสมุทร, ทะเลกว้างใหญ่ไพศาลที่คลุม 3 ส่วน 4 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด

สโรช

843

seroja

 

เซอ-โร-

ดอกบัวชนิดหนึ่ง

สลาตัน

845

selatan

 

เซอ-ลา-ตัน

ทิศใต้, ใต้, ภายใต้, ทักษิณ, ปักษ์ใต้, อยู่ทางใต้, ไปทางทิศใต้, มาจากทิศใต้

สลาม

845

salam

 

ซา-ลาม

ความสันติ, การทักทาย, การคำนับ, การรับรอง, การต้อนรับ, คำทักทาย, คำอวยพร, คำต้อนรับ

สวร

847

suara

 

ซู-วา-รา

เสียงร้อง, เสียงร้องของคน, เสียงเปล่ง, ความสามารถในการพูดหรือร้อง, ความคิดเห็น

สวามิ, สวามี, สามี

847, 866

 

suami

ซู-วา-มี

สามี, ผัว

สะเต๊ะ

852

sate

 

ซา-เต

อาหารชนิดหนึ่ง ทำจากเนื้อสัตว์ปรุงรสเสียบไม้ย่างไฟ

สากรรจ์

863

sakan

 

ซา-กัน

อาการบาดเจ็บที่หนักหนาสาหัส

สาคร

863

segara

 

เซอ-า-รา

ทะเล

สาคู

863

sagu

 

ซา-กู

สาคู และผลผลิตจากต้นของมัน

ส่าหรี

870

sari

 

ซา-รี

เครื่องแต่งกายสตรีอินเดีย

สิงห์

873

singa

 

ซี-งา

สิงห์หรือสิงโตหรือราชสีห์

สิรี

875

ดูที่ “ศรี”

 

 

 

สุจิ

879

suci

 

ซู-จี

บริสุทธิ์, หมดจด, ศักดิ์สิทธิ์, ปราศจากบาป, ไร้บาป

สุภาษิต

880

 

subasito

ซู-บา-ซี-โต

สุภาษิต

สุริยะ

881

suriya

suryo

ซู-รี-ยา, ซูรฺ-โย

ดวงอาทิตย์

สุลต่าน

881

Sultan

 

สุล-ต่าน

ประมุขของประเทศมุสลิม, สุลต่าน, สุลต่านของตุรกีสมัยก่อน

สุหนัต

882

sunat

 

ซู-นัต

พิธีขลิบหนังหุ้มองคชาติ

สุเหร่า

882

surau

 

ซู-เร่า

ศาสนาสถานของชนมุสลิม

โสร่ง

895

sarung

 

ซา-รุง

ผ้านุ่ง, โสร่ง, ผ้าที่ใช้ทำโสร่ง

- ห -

 

 

 

 

 

หง่อง ๆ

898

gong

 

โฆ่ง

เสียงฆ้องดัง โฆ่ง ๆๆๆ

หมาต๋า

910

mata-mata

 

มาตา-มาตา

ตำรวจ

หยังหยัง

914

 

yang-yang

ยัง-ยัง

เทวดา

หลอก ๆ

917

olok-olok

 

โอ-ล๊ก-โอ-ล๊ก

หลอก ไม่จริง, ล้อเล่น

หะยี, หัจยี

922

haji

 

ฮา-จี, ฮายี

ชายมุสลิมที่ผ่านพิธีฮัจญ์ที่เมืองเมกกะมาแล้ว

หีน

930

hina   

 

ฮี-นา

น่าดูถูก, น่าเหยียดหยาม, น่ารังเกียจ

- อ -

 

 

 

 

 

อเนก

951

aneka

 

อา-เน-กา

มาก, หลาย, หลายชนิด,  หลากหลายแตกต่างกัน

อสัญแดหวา

956

 

dewa

เด-วา

เทวดา

อะแจ

960

Aceh

 

อา-เจะห์

เมืองหนึ่งบนเกาะสุมาตรา

อะนะ

960

anak

 

อา-นัก

บุตร, ลูก, เด็ก

อักษร

961

 

aksoro

อัก-ซอ-รอ

ตัวอักษร

อังกวด

961

 

angkuat

อัง-กู-วัต

จ้องหน่อง

อังกะลุง

961

 

angklung

อัง-กลุง

อังกะลุง

อังสนา

962

angsana, sena

 

อัง-สา-นา, สือ-นอ

ต้นประดู่ หรือดอกประดู่

อัดแจ

963

ดู อะแจ

 

 

 

อาจาด

968

acar

 

อา-จารฺ

อาจาด  (อาหาร),  เครื่องผักดอง

อาจาร

968

acara

 

อา-จา-รา

กำหนดการ, แบบแผน, รายการ,  รายการโทรทัศน์, กำหนดการระเบียบวาระการประชุม,  การเต้นรำ, กิจกรรม,  กิจกรรมการแสดง

อาตมะ

969

atma

 

อัต-มา

ชีวิต

อาศรม

972

asrama

 

อัส-รา-มา

ที่พัก (สำหรับนักศึกษา)

อิสตรี, อิสัตรี

976

 

istri

อิส-ตรี

ภรรยา, สตรีที่สมรสแล้ว

อิหม่าม

976

imam

 

อี-มาม

ผู้นำในการละหมาด, คำเรียกผู้นำรัฐในอิสลาม, ผู้นำที่ดี

อุตร

980

 

utara

อู-ตา-รา

เหนือ, ทิศเหนือ

อุตสาหะ, อุตส่าห์

981

 

usaha

อู-ซา-ฮา

พยายาม, วิริยะ

อุปมา

982

umpama

 

อุม-ปา-มา

ยกตัวอย่าง, ตัวอย่าง,อุทาหรณ์,แบบอย่าง,ข้อตักเตือน,แบบฉบับ,อย่างเช่น

อุรังอุตัง

983

Orang Hutan

 

ออ-รัง-ฮู-ตัน

คนป่า, ลิงอุรุงอุตัง

เอก, เอกา, เอ้กา

984, 985

eka

 

เอ-กา

หนึ่งเดียว, เป็นหนึ่ง, เอก, เดี่ยว, เอกะ

เอ็ง

985

engkau

 

เอิง-เกา

คุณ สรรพนามบุรุษที่สอง

แอหนัง

990

 

eneng

เออ-แน็ง

เป็นคำเรียกเด็กผู้หญิงหรือหญิงสาวกลุ่มชนชั้นกลาง

- ฮ -

 

 

 

 

 

ฮัจญี

996

haji    

 

ฮา-จี

บุคคลที่ผ่านการประกอบพิธีฮัจญ์แล้ว

ฮิจเราะห์

997

hijriah 

 

ฮิจ-รี-ยะฮฺ

ปฏิทินของประเทศอาหรับ,ปีในประเทศอาหรับ

 



* เนื่องจากภาษาอินโดนีเซียมีที่มาจากภาษามลายู เพราะฉะนั้นจะกำหนดให้อยู่ในช่องเดียวกัน

 

บล็อกของ onanong

onanong
  คราวนี้จะขอพูดถึงคำสรรพนามในภาษาอินโดนีเซียนะคะ คำสรรพนามในภาษาอินโดนีเซียนั้นมีอยู่มากมายเพราะเป็นสังคมที่มีลำดับชั้นและมรรยาทมากเหมือนของไทย การแทนตัวผู้พูดกับผู้ฟังจะขึ้นอยู่กับวัยวุฒิ และสถานะของคนที่เราพูดด้วย
onanong
 มาเรียนภาษาอินโดนีเซียกันต่อนะคะ คราวนี้จะเป็นพยัญชนะและสระประสมนะคะ และแถมด้วยคำที่ออกเสียงใกล้ๆ กันแต่ความหมายไปคนละเรื่องเลยค่ะ
onanong
ตามสัญญานะคะ คราวนี้จะเป็นการสอนภาษาอินโดนีเซียเบื้องต้นง่ายๆ สำหรับผู้สนใจเรียนภาษาอินโดนีเซียที่ไม่มีพื้นฐานมาก่อน วันนี้ขอเริ่มด้วยการออกเสียงพยัญชนะ และสระนะคะ สำหรับผู้ที่ต้องการให้สอนภาษาอินโดนีเซียในระดับที่ยากขึ้นไป อดใจรอหน่อยนะคะ จะค่อยๆ เพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ
onanong
คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย, ชวาในพจนานุกรมฉบับมติชน พ-ม
onanong
วันที่ 28 ตุลาคมถือเป็นวันกำเนิดภาษาอินโดนีเซีย ซึ่งมีที่มานั้นน่าสนใจยิ่งว่ามาจากการประกาศ“ คำสาบานของเยาวชน” ประธานของสโมสรนักเรียนอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ปี 1928
onanong
“Indonesia Mengajar” เป็นโครงการที่ถ้าเรียกเป็นภาษาไทยก็น่าจะประมาณ “ครูอาสาอินโดนีเซีย” ซึ่งความสำเร็จของมันอาจหมายถึงการทำให้คนอินโดนีเซียหวนคิดถึงยุคสมัยแห่งการสร้างชาติ, คิดถึงชาติที่ unity แต่ในมุมกลับก็มีคำถามบางอย่างเช่นกัน
onanong
ต่อค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน ดิฉันต้องขอชี้แจง (อีกครั้ง-เผื่อท่านที่เพิ่งจะเข้ามาอ่าน) ว่า คำต่างๆ ที่ดิฉันค้นคว้ามานี้ มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บาง
onanong
นานมาแล้วมีลูกศิษย์ที่ไปเรียนต่อต่างประเทศ ขอให้ช่วยสอนคำทักทายภาษาอินโดง่ายๆ เพราะที่นั่นเขามีเพื่อนชาวอินโดอยู่จำนวนหนึ่ง แล้วเขาอยากจะทักทายเพื่อนๆ เป็นภาษาอินโดบ้าง ดิฉันก็เลยจัดให้ และยังเก็บไฟล์ไว้ เลยคิดว่าเผื่อจะมีท่านที่สนใจอยากทราบบ้างค่ะ
onanong
มาแล้วค่ะ คำภาษามลายู, อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายกับคำภาษา “ไทย” ในพจนานุกรมฉบับมติชน มิได้หมายความว่า ไทยเรารับเอามาจากภาษามลายู, อินโดนีเซีย หรือ ชวา โดยตรงทั้งหมด บางคำเราก็รับมาโดยตรงผ่านวรรณกรรม การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมบ้าง แต่บางคำก็รับผ่านภาษาบาลี สันสกฤต ทั้งเราและเขา บางคำก็ออกเสียงคล้ายกัน และแปลเหมือนกันโดยไม่ได้นัดหมายค่ะ
onanong
วันนี้ขอสลับพูดถึงคำขวัญของประเทศอินโดนีเซียนะคะ สำหรับท่านผู้อ่านที่ต้องการติดตามคำภาษามลายู อินโดนีเซีย และชวาที่คล้ายคำภาษาไทยในพจนานุกรมฉบับมติชนไม่ต้องกังวลนะคะ จะทยอยนำเสนอต่อไปค่ะ และก็ท่านที่คิดว่า...โอ้ย...จะรออ่านจนครบ ฮ เมื่อไหร่เนี่ย ... มันไม่ได้ยาวขนาดนั้นค่ะ คิดว่าซักห้าหกครั้งก็จบพอดีค่ะ