Skip to main content

จดหมายเปิดผนึกถึงพรรคการเมืองทุกพรรค

พวกเราประชาชนผู้สนใจการพัฒนาสังคม อยากทราบว่า ท่านมีนโยบายด้านการศึกษาและการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรจากตำบลหรืออำเภอต่าง ๆ อย่างไรบ้าง
แล้วท่านพอรู้จักหรือจำโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน ซึ่งเป็นโครงการกระจายโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาแต่ถูกยกเลิกไป ได้บ้างหรือไม่
และในวาระอาสาเข้าไปทำงานผ่านการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง ท่านมีท่าทีและแนวนโยบายอย่างไรต่อโครงการในลักษณะนี้บ้าง ?

16 มีนาคม 2566

ศ.ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ดร.ชาญ พนารัตน์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ดร.ฐานิดา บุญวรรโณ (มหาวิทยาลัยนเรศวร)
ผศ.ดร.ตฤณ ไอยะรา (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
ผศ.ดร.นรุตม์ เจริญศรี (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ดร.พิสิษฏ์ นาสี (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ดร.ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ดร.วรรณภา ลีระศิริ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ดร.วรวิทย์ บุญไทย (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ดร.สุมนัสยา โวหาร (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ผศ.ติณณภพจ์ สินสมบูรณ์ทอง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
รศ.ดร.จักรกริช สังขมณี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
รศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว (อดีตนักศึกษาทุนพัฒนาผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษเป็นอาจารย์)
รศ.ดร.วิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล (มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม)
อ.ดร.กนกวรรณ สมศิริวรางกูล (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
อ.ดร.กาญจนา องคศิลป์ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)
อ.ดร.ชัยพงษ์ สำเนียง (มหาวิทยาลัยนเรศวร)
อ.ดร.ชีรา ทองกระจาย (มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
อ.ดร.พลอยแก้ว โปราณานนท์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
อ.ดร.พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
อ.ดร.ศิรดา เขมานิฏฐาไท (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
อ.พงศกร สงวนศักดิ์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา )
ขวัญข้าว สังขพันธานนท์ (ประชาชน)
ชัยศิริ จิวะรังสรรค์ (ศิลปิน)
ชินาธิป แดงสูงเนิน (อดีตนักเรียนทุนโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
ประวันวิทย์ ศรีจันทร์ (อดีตนักเรียนทุนโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
พีลพล สหัสมุกดาธารา (นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ)
ภัทรวดี อบอาย (นักศึกษาปริญโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
วรารัตน์ ไชยะ (อดีตนักเรียนทุนโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
สมัคร์ กอเซ็ม (นักศึกษาปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
สาธิยา เขื่อนคำ (นักศึกษาปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
สิตานันท์ สุวรรณศิลป์ (นักศึกษาปริญโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
สุทธิชัย ใจติ๊บ (อดีตนักเรียนทุนโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)

 

บล็อกของ un sociologue normal

un sociologue normal
หนังเรื่อง สัปเหร่อ (2566) กระแสแรงแค่ไหน รายได้รวมทั่วประเทศกว่า 500 ล้านบาท [ข้อมูลจาก Major Group* ณ วันที่ 23 ต.ค. 2566] น่าจะบ่งบอกได้เป็นอย่างดี
un sociologue normal
โลกของหนังสือเด็กสำหรับผมคือโลกที่ผมไม่เคยมีโอกาสได้เข้าไปสัมผัสมาก่อน และแยกไม่ออกว่าหนังสือเด็กคืออะไร แตกต่างจากหนังสือผู้ใหญ่ยังไง? ทำไมต้องมีการแบ่งอายุคนอ่านด้วย  
un sociologue normal
จดหมายเปิดผนึกถึงพรรคการเมืองทุกพรรคพวกเราประชาชนผู้สนใจการพัฒนาสังคม อยากทราบว่า ท่านมีนโยบายด้านการศึกษาและการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรจากตำบลหรืออำเภอต่าง ๆ อย่างไรบ้างแล้วท่านพอรู้จั
un sociologue normal
ถ้าจะกล่าวว่า "หนังเกาหลีเป็นหนังสร้างชาติ" ก็เป็นการกล่าวที่ไม่เกินไปนัก อุตสาหกรรมหนังเกาหลีได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องจนขยายความนิยมได้ทั่วโลก ด้วยพล็อตเรื่องที่เป็นเฉพาะตัวและเปลี่ยนแปลงไปตามภัยคุกคามชาติในแต่ละยุคสมัย สำหรับ 30 ปีที่แล้วภัยคุกคามแห่งชาติของเกาหลีใต้คือ สายลับเกาห
un sociologue normal
ในช่วงเวลาที่ผ่านมา การเพิ่มขึ้นของจำนวนนักศึกษาไทยเป็นสิ่งที่รับรู้ตรงกันทั้งจากประสบการณ์ที่เราพบเจอและในทางสถิติ ในปีการศึกษา 2535 ประเทศไทยมีจำนวนนักศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าขึ้นไป (ปวส.
un sociologue normal
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเตรียมจะเปิดรับสมัครเพิ่มเติมโครงการ 1 อำเภอ1ทุน รุ่นที่ 3 รอบที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2555 โดยมีนโยบายจะเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ขอรับทุน คือ ผู้สมัครไม่ต้องยื่นหลักฐานรับรองรายได้ของครอบครัวจากเดิมที่จำกัดรายได้ไม่เกิน 1.5แสนบาทต่อปี และเพิ่มเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำในก
un sociologue normal
คำกล่าวของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่มีต่อคณะนักเรียนทุนรัฐบาลโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน (One District One Scholarship) หรือทุนโอดอส (ODOS) ในโอกาสที่นักเรียนทุนฯ สำเร็จการศึกษา ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554 เวลา 11.00 น.
un sociologue normal
คำกล่าวของ พ.ต.ท. [ยศขณะนั้น] ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่มีต่อคณะนักเรียนทุนรัฐบาลโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน (One District One Scholarship) หรือโอดอส (ODOS) ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล วันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน 2547 เวลา 10.00 น. 
un sociologue normal
การศึกษาทำความเข้าใจและอธิบายโลกทางสังคม ต้องวางอยู่บนฐานสำคัญสองประการ 1) ตระหนักว่าปรากฏการณ์ทางสังคมเป็นผลผลิตของมนุษย์ ไม่ได้เกิดขึ้นและดำรงอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง 2) ตระหนักว่าผู้คนหรือองค์กรที่มีส่วนในการสร้างและ/หรือรักษาสภาพปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ทางสังคมไว้ มีมากกว่ากลุ่มเดียว ฝ่ายเดียว ขั้วเดีย
un sociologue normal
"รู้จักเลอแป้นมั้ย ที่ว่าเป็นเผด็จการน่ะ? ยายเคยทำแม่บ้านบ้านเค้านะ ซักผ้า รีดผ้า เก็บห้อง...
un sociologue normal
และแล้วพวกเราก็ต้องไกลบ้าน มีเพียงวิญญาณและเงาเดินทางเป็นเพื่อน ทะเลทรายและขุนเขารออยู่เบื้องหน้า ลัดเลาะฟันฝ่า บุกป่าข้ามผ่านชายแดน และหลังจากนั้น... สุดแต่ประสงค์ของเบื้องบน
un sociologue normal
“การศึกษาเรื่องของชีวิตนั้น เราต้องศึกษาจากประชาชนผู้เป็นเจ้าของชีวิต ไม่ใช่ศึกษาจากหนังสือของนักคิดของพวกมีปัญญาที่นั่งคิดนั่งฝันเอาเอง” --เสนีย์ เสาวพงศ์. ความรักของวัลยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน. 2548. หน้า 48.